วันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Week09 : LabView Interface from Arduino via VISA



             หลายท่านคงจะสงสัยว่า LabVIEW คืออะไร เป็นโปรแกรมที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านใด เหมาะสมที่จะใช้ในงานด้านใดมากที่สุด ต้องมีอุปกรณ์อื่นใดร่วมใช้กับโปรแกรมนี้บ้าง และความแตกต่างของโปรแกรมนี้กับโปรแกรมอื่นๆ อย่างไร

อันดับแรก LabVIEW เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างเพื่อนำมาใช้ในด้านการวัดและเครื่องมือวัดสำหรับงานทางวิศวกรรม LabVIEW ย่อมาจาก Laboratory Virtual Instrument Engineering Workbench ซึ่งหมายความว่าเป็นโปรแกรมที่สร้าง เครื่องมือวัดเสมือนจริงในห้องปฏิบัติการทางวิศวกรรม ดังนั้นจุดประสงค์หลักของการทำงานของโปรแกรมนี้ก็คือการจัดการในด้านการวัดและเครื่องมือวัด อย่างมีประสิทธิภาพ และในตัวของโปรแกรมจะประกอบไปด้วยฟังก์ชันที่ใช้ช่วยในการวัดมากมายและแน่นอนที่สุด โปรแกรมนี้จะมีประโยชน์อย่างสูงเมื่อใช้ร่วมกับเครื่องมือวัดทางวิศวกรรมต่างๆ
สิ่งที่ LabVIEW แตกต่างจากโปรแกรมอื่นอย่างเห็นได้ชัดที่สุดก็คือ LabVIEW นี้เป็นโปรแกรมประเภท GUI (Graphic User Interface) โดยสมบูรณ์ นั่นคือเราไม่จำเป็นต้องเขียน code หรือคำสั่งใดๆ ทั้งสิ้น และที่สำคัญลักษณะภาษาที่ใช้ในโปรแกรมนี้เราจะเรียกว่าเป็น ภาษารูปภาพ หรือเรียกอีกอย่างว่าภาษา G (Graphical Language) ซึ่งจะแทนการเขียนโปรแกรมเป็นบรรทัดอย่างที่เราคุ้นเคยกับภาษาพื้นฐาน เช่น C, BASIC หรือ FORTRAN ด้วยรูปภาพหรือสัญลักษณ์ทั้งหมด ซึ่งแม้ว่าในเบื้องต้นเราอาจจะสับสนกับการจัดเรียบหรือเขียนโปรแกรมบ้าง แต่เมื่อเราคุ้นเคยกับการใช้โปรแกรมนี้แล้วเราจะพบว่า LabVIEW นี้มีความสะดวกและสามารถลดเวลาในการเขียนโปรแกรมลงไปได้มาก โดยเฉพาะในงานเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อใช้ในการวัดและการควบคุม
สำหรับผู้ที่เคยใช้โปรแกรมประเภทที่ใช้ตัวหนังสือ หรือที่เรียกว่า Text Base ทั้งหลาย คงจะทราบถึงความยุ่งยากในการจัดการกับตำแหน่งการส่งผ่านข้อมูลตามอุปกรณ์เชื่อมต่อเช่น Port หรือ Card ต่างๆ รวมถึงการจัดวางตำแหน่งในหน่วยความจำเพื่อที่จะสามารถรวบรวมข้อมูลมาใช้ในการคำนวณและเก็บข้อมูลให้ได้ประโยชน์สูงสุด ปัญหาเหล่านี้ได้รับการแก้ไขใน LabVIEW โดยได้มีการบรรจุโปรแกรมจำนวนมาก หรือ Libraries ไว้สำหรับจัดการกับปัญหาเหล่านั้น ไม่ว่าอุปกรณ์การเชื่อมต่อจะเป็น DAQ (Data Acquisition), GPIB (General Purpose Interface Bus หรือก่อนหน้านี้รู้จักกันในชื่อ Hewlett Packard Interface Bus, HP-IB), พอร์ตอนุกรม หรือ Serial Port เพื่อใช้ติดต่อกับอุปกรณ์ที่ส่งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Instrument) รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ด้วยวิธีการต่างๆ นอกจากนี้ใน Libraries เหล่านั้นยังได้บรรจุฟังก์ชันการทำงานที่สำคัญอีกหลายประการเช่น signal generation, signal processing, filters, สถิติพีชคณิต และคณิตศาสตร์อื่นๆ ดังนั้น LabVIEW จึงทำให้การวัดและการใช้เครื่องมือวัดกลายเป็นเรื่องง่ายลงไปมาก และทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของเรากลายเป็นเครื่องมือทางด้านการวัดหลายชนิดอยู่ในเครื่องเดียว



ก่อนอื่นต้องติดตั้งโปรแกรมก่อนครับ
ดาวน์โหลดได้ที่ http://sh.st/NwtL9


ขั้นตอนการติดตั้ง


 1.-* Antes de comenzar a instalar, deshabilitamos la red Wifi:
labview
2.-*Extraemos el archivo y ejecutamos el archivo setup:
labview
3.-*Esperamos que cargue y damos clic en Next:
 labview

 4.-*Llegaremos a esta pantalla en donde nos pedirá un serial:
labview

5.-*De regreso a la carpeta, ubicamos la carpeta “Crack“, ahí dentro ejecutamos el único archivo que contiene (NI_Lic_Act_1.2):
labview

6.-*Dentro del programa que acabos de ejecutar, vamos a la pestaña Options y damos clic en Generate Serial Number…
labview

7.-*Nos generará un serial el cual utilizaremos para la activación, guardamos el serial y cerramos el programa:
labview


8.-*Copiamos el serial y lo colocamos justo como aparece en la siguiente imagen, el segundo bloque lo dejamos en blanco y damos clic en Next:
labview

9.-*Esto lo dejamos como tal y damos clic en Next:
labview

10.-*Igualmente no modificamos nada en esta parte, clic en Next:
labview

11.-*Desmarcamos la casilla que aparece en la parte inferior y damos clic en Next:
labview

12.-*Aceptamos ambas licencias como aparece en la siguiente imagen y damos clic en Next:
labview

13.-*Hacemos lo mismo que en el paso anterior:
labview

14.-*Esta pantalla es opcional, si la muestra dejarla como sigue, si no la muestra no hay problema y sigan con los siguientes pasos:
labview

15.-*Clic en Next:
labview

16.-*Esperamos a que termine la instalación:
labview

17.-*Damos clic en Decline Support:
labview

18.-*En esta pantalla dejamos activada la primera opción y damos clic en Next:
labview

19.-*En esta pantalla debe aparecer el serial que habíamos colocado anteriormente:
labview

20.-*Nos mostrará este error, simplemente damos clic en Next:
labview

21.-*En este punto es muy importante dar clic en “Cancelar“:
labview

22.-*Volvemos a abrir el activador, ahora nos mostrará unas casillas que son son de LabVIEW, en estas casillas damos clic derecho sobre cada una y damos en “Activar “:
labview

23.-*Cada uno deberá cambiar a color verde:
labview

24.-*Cerramos el activador y ahora ejecutamos LabVIEW, damos clic en ‘Launch LabVIEW’:
labview

25.-*Esperamos a que cargue:
labview

26.-*Enjoy!
labview





Week08 : IoT platform (Google Cloun Plateform)



         IoT platform เป็นชุดส่วนประกอบที่ช่วยให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์สามารถนำไปใช้พัฒนาปรับใช้แอปพลิเคชันเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ หรือจะเป็นเซ็นเซอร์ระบบความปลอดภัย เป็นต้น
        ในยุคที่อะไรก็มีการเชื่อมต่อกันตลอดเวลา (ตัวเราเองที่ใช้สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ต่อเน็ต ก็เชื่อมต่อกันใน World Wide Web หรือตำแหน่งที่ตั้ง หรือบริการอื่นๆ ) การเชื่อต่อกันนี้มีข้อดี ที่หลายคนคิดไม่ถึงว่า หากให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันได้ และสามารถบอกหรือรายงานข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นๆได้ นั้นหมายถึงการรายงานการทำงาน สถานที่ตั้ง สภาวะ และอื่นๆได้ จะเป็นอย่างไร นั้นจึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า “Internet of Things” หรือ IoT ขึ้นมา สำคัญสำหรับ IoT ที่กำลังเป็นที่ต้องการของตลาดมากที่สุด ดังนี้

           1.Amazon Web Sevices (AWS) IoT platform the winner.
           2.Microsuft Azure IoT enables devices to analyse untapped data automatically.
           3.ThingWorx is a leading IoT platform for enterprise application development.
           4.IBM Watson is pretty much taken among developers already.
           5. Cisco IoT Cloud Connect strengthens your app’s network connectivity.
           6. Salesforce,s IoT platform is powered by Thunder and is focused on customers.
           7. Carriots, a PaaS platform is slowly gaining popularity.
           8. Oracle Integrated Cloud.        
           9. GE’s Predix. A Paas platform is made for mainstream sectors like aveiation
           10. The only open source IoT platform in list, Kaa is a middleware.




Google Cloud IoT






           ปัจจุบันเทคโนโลยีของ Cloud ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตเรามากขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้าเราใช้ Gmail หรือ Drive เราก็กำลังใช้ Cloud infrastructure กันอยู่ โดยข้อมูลทั้งหมดที่เราใช้นั้นจะถูกเก็บไว้ที่  Server ของ Google และเราสามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลของเราได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะจาก devices ไหนก็ตาม โดยบริการต่าง ๆ ที่เราใช้นั้นจะถูกเก็บไว้ที่ Google Cloud Platform ซึ่ง Google Cloud Platform มีบริการที่แยกย่อยออกไปอีกมากมายเพื่อให้เราสามารถเลือกใช้ได้ ไม่ว่าจะเป็น Compute Engine, Storage, Big Data, Machine Learning และอื่นๆ
            Google Cloud Platform ถือเป็นอีกหนึ่งระบบ Cloud ที่มาแรงมากสำหรับเหล่าธุรกิจต่างๆ โดยมีจุดเด่นที่ทุกคนพูดตรงกันก็คือ ความสามารถในการวิเคราะห์และจัดการข้อมูล ซึ่งก็เป็นความเชี่ยวชาญของ Google ที่มีเหนือกว่าผู้ให้บริการ Cloud รายอื่นๆ อยู่แล้ว อีกทั้งยังได้ชื่อด้วยว่าเป็นระบบ Cloud เดียวกับที่พนักงานภายใน Google เองใช้งาน และ Google เองก็เปิดให้เราทดลองใช้ Google Cloud Platform กันได้ฟรีๆ โดยมีเงื่อนไขดังนี้






      ในการลงทะเบียนใช้งานนี้ เราจะได้รับ Credit มาทดลองใช้ฟรีๆ เป็นมูลค่า 300 เหรียญ (ราวๆ 10,500 บาท) ภายในช่วงระยะเวลาทดลอง 60 วัน โดยต้องกรอกบัตรเครดิตตอนสมัครใช้งาน แต่บัตรเครดิตนี้จะไม่ถูกนำมาใช้จนกว่าจะอัพเกรด Account เป็นแบบ Paid เสียก่อน ดังนั้นไม่ต้องห่วงเรื่องจะโดน Google ตัดเงินเลยครับ โดยภายใน Google Cloud Platform นี้ก็จะมีระบบต่างๆ ให้เราได้ทดลองใช้งานมากมายดังนี้ 
·          Platform as a service
·           Virtual machines
·           Big data solutions
·           SQL and NoSQL databases
·           Object storage
·           Application services

         ปัจจุบันถ้าเรามีระบบงานที่ทำงานอยู่บน Server ต่าง ๆ มากมาย โดย Server และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เหล่านั้นเราต้องดูแลทุกอย่างด้วยตนเองไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ Hardware, Software, Security รวมทั้งยังต้อง Maintenance ระบบและแถมเรายังคอยเป็นห่วงเรื่อง Availability, Scalability และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยสิ่งที่กล่าวมานั้นก็ต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลซึ่งก็ค่อนข้างที่จะสูงเอาการทีเดียว ถึงแม้ระบบจะถูกใช้งานหรือไม่ก็ตามเราก็ยังต้องคอยดูแลเพื่อให้พร้อมกับการใช้งานตลอดเวลา ซึ่งก็ทำให้เกิดต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย
         แต่ปัจจุบันนี้มีทางออกแล้ว โดยถ้าเราทำการย้ายระบบงานทั้งหมดมาทำงานอยู่บน Cloud Solutions ของ Google เราจะสามารถลดภาระต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาทั้งหมด และสิ่งที่ได้เพิ่มขึ้นมาคือยังสามารถขยายระบบงานได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการรับ Load ในการทำงานที่มากขึ้น, การทำระบบ Test, การขยายฐานข้อมูล ได้อย่างรวดเร็ว และในเรื่องค่าใช้จ่ายก็สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับองค์กรได้มากเพราะลักษณะการจ่ายจะเป็นแบบ Pay-as-you-go จ่ายตามที่ใช้งานจริงสามารถตัดสินใจในการเพิ่มหรือลดระบบได้อย่างทันท่วงที 

            ในปัจจุบัน ผู้ที่สนใจทดลองใช้งานสามารถสมัครได้ที่ https://cloud.google.com/free/



การสมัครใช้งาน Google cloud platform

 1. ไปที่ https://cloud.google.com/  คลิกลงชื่อเข้าใช้และล๊อกอินด้วย Gmail 



2. คลิก “TRY IT FREE”






3.เลือกประเภทบัญชีแบบ “Individual” และกรอกข้อมูลส่วนตัวให้ครบถ้วน





    4.กรอกข้อมูลบัตรเครดิตหรือเดบิต ซึ่งข้อมูลบัตรนี้ Google ใช้อ้างอิงเพื่อให้รับเงิน Credit มาทดลองใช้ฟรีๆ เป็นมูลค่า 300 เหรียญ มีระยะเวลาการใช้งาน 60 วัน โดยบัตรเครดิตนี้จะไม่ถูกนำมาใช้จนกว่าจะอัพเกรด Account เป็นแบบ Paid เสียก่อน ดังนั้นไม่ต้องห่วงเรื่องจะโดน Google ตัดเงิน





5.คลิก “Accept and start free trial” เมื่อทำการสมัครเสร็จสิ้นแล้ว ระบบจะวิ่งมาหน้าแรก Dashboard คลิก “Get Started





เราก็จะได้หน้าตาของ Google Cloud ประมาณนี้




           จากการศึกษาทดลอง เราหาข้อมาแต่ข้อมูลมีไม่เพีงพอ สำหรับการทดลองยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น  จึงขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

#ขอบคุณครับ